วันอังคารที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558

Consumer behavior



น.ส.ปุณณภา นิยมเสน เลขที่ 58560442 
นักศึกษาปริญญาเอกหลักสูตรบริหารดุษฎีบัณฑิต (D.B.A.07)มหาวิทยาลัยศรีปทุม
รายวิชา DBA 702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฎิบัติ
          (Advanced Theories of Strategic Management Marketing Concepts and   
           Practices)  (ผศ.ดร.วิชิต  อู่อ้น)
หลักจากการฟัง Present ของเพื่อนนักศึกษา DBA07


CONSUMER BEHAVIOR
บุญญรัศมิ์  อัยยรัตน์ 58560548
MODEL1

Tittle:  SOCIO-ECONOMIC FACTORS AND THEIR INFLUENCE ON THE ADOPTION OF E-COMMERCE BY COMSUMERS IN SINGAPORE
Auther:  M.Y.SIYAL, B.S. CHOWDHRY and A.Q. RAJPUT
Sources:  International Journal of Information Technology & Decision Making Vol.5, No.2 (2006) 317-329


อธิบาย  :  จากกรอบแนวคิดสามารถอธิบายว่า "ปัจจัยส่วนบุคคลที่จะส่งผลให้ผู้บริโภคใช้
E-COMMERCE ได้แก่ อายุ เพศ ระดับรายได้ ระดับการศึกษา การเข้าถึงการใช้อิตเตอร์เน็ต

.............................................


MODEL 2
Tittle:  Internet Marketing Involvement  and Consumer Behavior
Author: Shwu-Ing Wu
Sources: Asia Pacific Of Marketing and Logistics



อธิบาย:  จาก Framework สิ่งที่ผู้บริโภครับรู้หรือลักษณะเฉพาะบุคคลหรือ lifestyle นั้นมีผลต่อระดับความมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมผู้บริโภค เช่นการตัดสินใจซื้อ หรือจะซื้ออะไรจำนวนที่จะต้องการซื้อ หรือจะซื้อชนิดใด



นายวัฒนา  พิลาจันทร์ (เต่า) 58560106
บทที่ 2 Consumer Behaviour พฤติกรรมผู้บริโภค
1.ผลกระทบทั่วไปและที่เกี่ยวกับคาร์บอนกับความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมในทัศนคติและและพฤติกรรมของผู้บริโภคในสหรัฐ



อธิบายกรอบแนวคิด : ทัศนคติต่อสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากความรู้ทั่วไปด้านสิ่งแวดล้อมและความรู้ทั่วไปด้านคาร์บอนอ๊อฟเซ็ต ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมทั่วไปในการชดเชยคาร์บอนและพฤติกรรมทั่วไปด้านสิ่งแวดล้อม




นายวัฒนา  พิลาจันทร์ (เต่า) 58560106
บทที่ 2 Consumer Behaviour พฤติกรรมผู้บริโภค
2. พฤติกรรมในการต้องการราคาที่เป็นธรรมของผู้บริโภค


อธิบายกรอบแนวคิด : การตอบสนองผู้บริโภคที่แตกต่างกันของราคา เกิดจากตัวแปรทางตรงสองทางคือ
1.     นโยบายการกำหนดราคาและการปฏิบัติ
2.     ความเป็นธรรมผลการรับรู้
ซึ่งในตัวนโยบายกำหนดราคาและการปฏิบัติ ยังส่งผลให้เกิดขั้นตอนการรับรู้ของการเป็นธรรมเป็นผลการรับรู้และส่งผลสุดท้ายกลับไปสู่การตอบสนองของผู้บริโภคที่แตกต่างของราคา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น